วันเสาร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

[Ubuntu] การติดตั้ง และ การใช้งาน Cron Jobs

การติดตั้ง Cron ก่อนอื่นให้เราเช็คดูก่อนว่ามีการติดตั้งลงไปที่เครื่องแล้วหรือยัง
dpkg -l cron

# cron installed

Desired=Unknown/Install/Remove/Purge/Hold
| Status=Not/Inst/Conf-files/Unpacked/halF-conf/Half-inst/trig-aWait/Trig-pend
|/ Err?=(none)/Reinst-required (Status,Err: uppercase=bad)
||/ Name           Version               Architecture    Description
+++-===============-====================-===============-==============================
ii  cron            3.0pl1-128.1ubuntu1  amd64           process scheduling daemon


เมื่อพบว่ายังไม่ได้ทำการติดตั้งให้เราทำการ Update Package ก่อนทำการติดตั้ง และเมื่อทำการติดตั้งแล้วให้เช็คว่า Cron ทำงาน
apt update
apt install cron

systemctl status cron

วันอาทิตย์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

[Github] Automate - Build และ Deploy Angular JS ไปยัง Firebase

สิ่งที่เราต้องเตรียมคือ
- Account Github
- Account Firebase

ทำการ Push Project ของเราที่เป็น Angular ขึ้นไปยัง Github จากนั้นเปิดที่หน้าเว็บของ Github เข้าไปยัง Repository ของเรา สังเกตุแถบด้านบนจะเห็น แถบ Actions ให้คลิกเข้าไปแล้วเลือก set up a workflow yourself เราจะเห็นไฟล์ main.yml


วันพุธที่ 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

[Travis-CI] Automate - Build และ Deploy Angular JS ไปยัง Firebase

เราต้องทำอะไรก่อนมาถึงตรงนี้
- มี Account Github
- มี Account Travis CI
- มี Account Firebase

สร้าง Account Github และ Travis CI และทำการเชื่อมให้ Travis CI เห็น Repo ใน Github
สร้าง Firebase Project ใน Firebase Console เพื่อใช้ทำการ Initial Firebase อีกที
สร้าง Angular Project แล้วทำการ Initial Firebase ใน Angular Project

เราจะต้องใช้งานไฟล์ .firebaserc และไฟล์ firebase.json
ไฟล์ .firebaserc เก็บชื่อ Project ที่เราจะทำการ Deploy
ไฟล์ firebase.json เก็บข้อมูลการ Deploy เราต้องแก้ไขไฟล์ส่วนที่เป็น public

ตัวอย่างไฟล์ .firebaserc ตรง default ให้เราใส่ชื่อ project เข้าไปผมใช้ project ชื่อ angular-travis-ci
{
  "projects": {
    "default": "angular-travis-ci"
  }
}
ตัวอย่างไฟล์ firebase.json ตรง public ใส่ Path ของไฟล์ที่เก็บ Build แล้วของผม Project ชื่อ travis-ci
เวลา build เสร็จแล้วจะอยู่ใน Folder ชื่อ dist/travis-ci
{
  "hosting": {
    "public": "dist/travis-ci",
    "ignore": [
      "firebase.json",
      "**/.*",
      "**/node_modules/**"
    ],
    "rewrites": [
      {
        "source": "**",
        "destination": "/index.html"
      }
    ]
  }
}

วันอังคารที่ 14 เมษายน พ.ศ. 2563

[Review] การต่อ Notebook ออก Port VGA 2 จอ และมีจอ Notebook อีกรวมเป็น 3 จอ

มันเป็นปัญหาสำหรับผมมานานในการใช้งาน Notebook แล้วพยายามต่อออกจอมากกว่า 1 จอเนื่องจาก Port ที่มีมามีแค่ HDMI 1 Port ไม่สามารถต่อมากกว่านั้นได้ก็เลยจะต่อเพิ่มได้แค่ 1 จอ ผมเลยทำการซื้อ USB 3.0 แปลงเป็น VGA เพื่อต่อได้อีก 1 จอ กลายเป็นสอง ปัญหาคือ อะไร ละงั้น ?

ปัญหาคือ
1. ผมต้องเสียบ HDMI กับ USB 3.0 ซึ่งส่วนตัวไม่อยากทำแบบนั้น อยากลดลงเหลือแค่ HDMI หรือ USB อย่างไดอย่างหนึ่ง
2. ช่องต่อที่เป็น USB 3.0 มีแค่ 1 ช่องเท่านั้น และ USB 3.0 แปลงเป็น VGA มีความเพี้ยนของภาพทำให้รู้สึกไม่ดีเวลาใช้งาน

ผมจึงเริ่มตามหา USB 3.0 แปลงเป็น VGA แบบชัดขึ้น และก็เลยได้เจอกับตัว G-Link ครับลองสั่งมาเลย 2 ตัว เพื่อจะเปลี่ยนแทนตัว HDMI (เดิม HDMI ของผมเป็น HDMI แปลงเป็น VGA เหมือนกัน) และเจอว่ามี USB 3.0 Hub เลยสั่งมาด้วย เพราะจะต่อพวงกันไปเลย และผลที่ได้ก็น่าพอใจมากครับ คิดว่าถ้าจะเพิ่มอีกจอน่าจะไม่มีปัญหา แต่ตอนนี้ยังไม่มีจอ ก็พักก่อนหาเรื่องเสียเงินไปเรื่อย ๆ จริง ๆ

วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563

[Linux Container] - สร้าง Network และ Storage ไว้ก่อนแล้วค่อยมา Init

การใช้งาน Linux Container สักพักหนึ่งก็พบความไม่สะดวกในการใช้งาน Network กับ Storage ตอนที่ทำการ Init
Network ปกติจะ Init เป็น 10.x.x.x ทำให้ชนกับ Network ภายใน และ Storage ก็เพิ่มได้ยากเพราะหาไม่เจอ เลยทำการสร้างไว้ก่อน

สร้าง Network -> https://im-jumbo.blogspot.com/2019/04/how-to-use-lxc-network.html
สร้าง Storage -> https://im-jumbo.blogspot.com/2019/08/linux-container-storage-pool-lxc-storage.html

เมื่อทำการสร้าง Network กับ Storage เสร็จแล้วก็ทำการ Init ตามปกติ
Welcome to Ubuntu 18.04.4 LTS (GNU/Linux 4.15.0-76-generic x86_64)

 * Documentation:  https://help.ubuntu.com
 * Management:     https://landscape.canonical.com
 * Support:        https://ubuntu.com/advantage

  System information as of Mon Feb  3 14:55:06 +07 2020

  System load:  0.0               Users logged in:       0
  Usage of /:   7.8% of 77.26GB   IP address for ens192: 10.1.4.50
  Memory usage: 3%                IP address for ens224: 192.168.0.115
  Swap usage:   0%                IP address for lxdbr1: 172.168.0.1
  Processes:    202

 * Overheard at KubeCon: "microk8s.status just blew my mind".

     https://microk8s.io/docs/commands#microk8s.status

 * Canonical Livepatch is available for installation.
   - Reduce system reboots and improve kernel security. Activate at:
     https://ubuntu.com/livepatch

0 packages can be updated.
0 updates are security updates.

Failed to connect to https://changelogs.ubuntu.com/meta-release-lts. 
Check your Internet connection or proxy settings


Last login: Mon Feb  3 14:44:48 2020 from 192.168.0.251
sarankon@conf:~$ lxd init
Would you like to use LXD clustering? (yes/no) [default=no]:
Do you want to configure a new storage pool? (yes/no) [default=yes]: no
Would you like to connect to a MAAS server? (yes/no) [default=no]:
Would you like to create a new local network bridge? (yes/no) [default=yes]: no
Would you like to configure LXD to use an existing bridge or host interface? (yes/no) [default=no]: yes
Name of the existing bridge or host interface: lxdbr1
Would you like LXD to be available over the network? (yes/no) [default=no]:
Would you like stale cached images to be updated automatically? (yes/no) [default=yes]
Would you like a YAML "lxd init" preseed to be printed? (yes/no) [default=no]:
sarankon@conf:~$

วันพฤหัสบดีที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2563

Convert PFX File To PEM File By OpenSSL

การใช้ Cert กับ Apache2 ผมยังใช้งานกับไฟล์ PEM อยู่ซึกปกติแล้ว Cert ที่ได้มาจะเป็นไฟล์ PFX ผมเลยต้องทำการ Convert อีกครั้งก่อนใช้งานจริง
ขอบคุณข้อมูลจากเว็บ: https://www.xolphin.com/

# สร้างไฟล์ PEM ที่รวมทั้ง Private Key และ Certificate จากไฟล์ PFX
openssl pkcs12 -in filename.pfx -out cert.pem -nodes

# สร้างไฟล์ Private Key จากไฟล์ PFX
openssl pkcs12 -in filename.pfx -nocerts -out key.pem

# สร้างไฟล์ Certificate จากไฟล์ PFX
openssl pkcs12 -in filename.pfx -clcerts -nokeys -out cert.pem

# ลบรหัสผ่านออกจาก Private Key
openssl rsa -in key.pem -out server.key

วันอังคารที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2563

Angular 8 - การ Build เพื่อนำไปใช้งาน

ข้อมูลเพิ่มเติมอ่านได้จาก https://angular.io/start/deployment

การใช้งาน Angular เราต้องทำการ Build Project ของเราก่อนด้วยคำสั่ง ng build เสร็จแล้วจะได้ไฟล์พร้อมใช้งานอยู่ที่ Folder dist
ให้เราทำการ Copy ไฟล์ข้างในที่อยู่ในระดับเดียวกัน index.html ลงไป ไปว่างไว้ที่ Root Web ก็สามารถใช้งานได้
 
ng build --prod
ng build --prod --base-href=/project-name/

วันอาทิตย์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2563

Angular 8 - การสร้าง Form สำหรับรับข้อมูล

การสร้าง Form เราจะต้องทำการ Import Module ชื่อ ReactiveFormsModule ในไฟล์ app.module.ts ก่อนถึงจะเรียกใช้งานใน Component อื่นๆ ได้
import { BrowserModule } from '@angular/platform-browser';
import { NgModule } from '@angular/core';
import { HttpClientModule } from '@angular/common/http';
import { ReactiveFormsModule } from '@angular/forms';

import { AppRoutingModule } from './app-routing.module';
import { AppComponent } from './app.component';

import { RouterModule } from '@angular/router';

import { TopBarComponent } from './top-bar/top-bar.component';
import { ProductListComponent } from './product-list/product-list.component';
import { ProductAlertsComponent } from './product-alerts/product-alerts.component';
import { ProductDetailComponent } from './product-detail/product-detail.component';
import { CartComponent } from './cart/cart.component';

@NgModule({
  declarations: [
    AppComponent,
    TopBarComponent,
    ProductListComponent,
    ProductAlertsComponent,
    ProductDetailComponent,
    CartComponent
  ],
  imports: [
    BrowserModule,
    HttpClientModule,
    AppRoutingModule,
    ReactiveFormsModule,
    RouterModule.forRoot([
      { path: '', component: ProductListComponent },
      { path: 'product/:productId', component: ProductDetailComponent },
      { path: 'cart', component: CartComponent}
    ]),
  ],
  providers: [],
  bootstrap: [AppComponent]
})

export class AppModule { }

วันศุกร์ที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2563

Angular 8 - เรียกข้อมูลแบบ JSON ผ่าน HTTPClient

เตรียมข้อมูล JSON ชื่อ shipping.json ใน Folder assets แล้วทดสอบเรียกผ่าน URL : "http://localhost:4200/assets/shipping.json"
[
    {
        "type": "Overnight",
        "price": "25.99"
    },{
        "type": "2-Day",
        "price": "9.99"
    },{
        "type": "Postal",
        "price": "2.99"
    }
]

วันพุธที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2563

Angular 8 - บริการเก็บข้อมูลด้วย Service

การสร้าง Service ที่ใช้ในการจัดการข้อมูลต่าง ๆ ใน App ของเราใช้ Tutorial Guide จาก https://angular.io/start/data
ใน App ของเรานั้นจำเป็นต้องมี Service เอาไว้ใช้งาน เราสามารถใช้ในการจัดการข้อมูล และดึงข้อมูลจากแหล่งข้อมูลอื่น ๆ ผ่านทาง Service ได้ สำคัญมาก

สร้าง Service ชื่อ CartService ไว้เก็บข้อมูลการสั่งซื้อมือถือ ให้ใช้คำสั่ง "ng generate service cart" เสร็จแล้วเราจะได้ไฟล์มา 2 ไฟล์
1. "src/app/cart.service.spec.ts" และ 2. "src/app/cart.service.ts" เราจะเข้ามาแก้ไฟล์ที่ 2. นี่กัน
import { Injectable } from '@angular/core';

@Injectable({
  providedIn: 'root'
})

export class CartService {

  constructor() { }
}

ให้เราเพิ่ม Function 3 ตัวคือ addItem() ใช้เพิ่ม Item ลงตะกร้า , getItems() เรียกดูค่า Item ในตะกร้า และ clearItems() ลบ Item ออกจากตะกร้าทั้งหมด
import { Injectable } from '@angular/core';

@Injectable({
  providedIn: 'root'
})

export class CartService {

  items = [];

  addItem(product) {
    this.items.push(product);
  }

  getItems() {
    return this.items;
  }

  clearItems() {
    this.items = [];
  }

  constructor() { }

}

วันจันทร์ที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2563

Angular 8 - แบ่ง Component เป็นหน้า ๆ กับ Router Module

ความเดิมจากตอนที่แล้วเราได้ทำการ Follow Guide หัวข้อ Your First App เสร็จแล้ว https://angular.io/start
ให้หัวข้อต่อมาเรื่องของ Routing https://angular.io/start/routing จะเริ่มสร้างหน้าย่อ ๆ กัน

ใช้ Code ต่อจากตอนที่แล้วเราจะทำการเพิ่ม RouterModule อย่างเดียวแล้วทำความเข้าใจกันก่อนว่ามันเป็นส่วนไหน
ให้เราทำการ Import Module ชื่อ "RouterModule" และทำการ Import และใส่ข้อมูล Path ด้วยใน "RouterModule.forRoot([])"
ส่วนของ path ใช่เป็น ' ' หมายถึง Root และแสดง Component ProductListComponent
import { BrowserModule } from '@angular/platform-browser';
import { NgModule } from '@angular/core';

import { AppRoutingModule } from './app-routing.module';
import { AppComponent } from './app.component';

import { RouterModule } from '@angular/router';

import { TopBarComponent } from './top-bar/top-bar.component';
import { ProductListComponent } from './product-list/product-list.component';
import { ProductAlertsComponent } from './product-alerts/product-alerts.component';


@NgModule({
  declarations: [
    AppComponent,
    TopBarComponent,
    ProductListComponent,
    ProductAlertsComponent
  ],
  imports: [
    BrowserModule,
    AppRoutingModule,
    RouterModule.forRoot([
      { path: '', component: ProductListComponent }
    ]),
  ],
  providers: [],
  bootstrap: [AppComponent]
})

export class AppModule { }
<app-top-bar></app-top-bar>
<app-product-list></app-product-list>

<router-outlet></router-outlet>

วันเสาร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2563

Angular 8 - สร้าง Component ใน Component ไปอีก

สร้างปุ่ม Notify Me เป็นแล้วเรียกใช้ใน Product List โดยจะสร้างเป็น Component และมีการรับค่าด้วย


เริ่มด้วยการสร้าง Component ชื่อ product-alerts อย่าลืมใช้คำสั่ง ng generate component product-alerts
แล้วเพิ่มปุ่ม Notify Me ใน Template
import { Component, OnInit } from '@angular/core';

@Component({
  selector: 'app-product-alerts',
  templateUrl: './product-alerts.component.html',
  styleUrls: ['./product-alerts.component.css']
})
export class ProductAlertsComponent implements OnInit {

  constructor() { }

  ngOnInit() {
  }

}
<p>
    <button>Notify Me</button>
</p>